ภาพบรรยากาศการเรียนการสอนในหลักสูตร iRobot รุ่นที่ 3 

(ทั้งหมด 10 วัน รวม 60 ชั่วโมง)


วันที่ 1 : ภาพบรรยากาศงานเปิดหลักสูตร iRobot3 ณ ห้อง Ball room โรงแรม S31 (สุขุมวิท 31)

ปาถกฐา

หัวข้อเรื่อง
- การขับเคลื่อนเศรษฐกิจภาคอุตสาหกรรมด้วยเทคโนโลยี
- เทคโนโลยี ที่ส่งผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมไทย
- การทำ Digital Transformation เกิดประโยชน์ต่อภาคอุตสาหกรรมอย่างไร
โดย คุณไพฑูรย์ ศิริฉัตรชัยกุล กรรมการและเลขานุการสถาบันเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารเพื่ออุตสาหกรรม (ผู้อานวยการหลักสูตร iRobot)
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

พร้อมการเสวนาโดยผู้เชี่ยวชาญระดับประเทศ เรื่อง “การประยุกต์ใช้ Automation & Robot เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการ ผลิตอย่างเต็มรูปแบบ”
โดย
1. ผศ.ดร.เกียรติศักดิ์ รุ่นพระแสง รองคณบดี คณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง (KMIT)
2. รศ.ดร.สยาม เจริญเสียง ผู้อานวยการสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (ฟีโบ้)
3. คุณศิริชัย พนาพงศ์ไพศาล กรรมการผู้จัดการ บริษัท EDA International จากัด
Modulator คุณจารัส สว่างสมุทร ผู้อานวยการใหญ่ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

และการบรรยายพิเศษ“การบริหารการผลิตให้เกิดความได้เปรียบในการแข่งขันยุค 4.0”
โดย รศ.ดร.สยาม เจริญเสียง ผู้อานวยการสถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม (ฟีโบ้)


Untitled-1.jpg



วันที่ 2 :

ช่วงเช้า การขอรับสิทธิประโยชน์ด้านภาษีในเรื่องการลงทุนปรับปรุงโรงงานจาก BOI โดยคุณดุสิต ไตรศิริพานิช ผู้อำนวยการสำนักบริหารการลงทุน 3 สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)

ช่วงบ่าย การจัดการทุนทรัพยากรบุคคล (Human Capital Management) โดยคุณธนพงศ์พรรณ ธัญญรัตตกุล

Untitled-1.jpg



วันที่ 3 : 

ช่วงเช้า โดย คุณศิริชัย พนาพงศ์ไพศาล เป็นการเรียนการสอนเรื่อง

Manufacturing Process Characters

การผลิตแบบโครงการ (Project Manufacturing)

การผลิตแบบไม่ต่อเนื่อง (Job Shop หรือ Intermittent Production)

การผลิตแบบกลุ่ม (Batch Production)

การผลิตแบบไหลผ่าน (Line- Flow)

การผลิตแบบต่อเนื่อง (Continuous Process)  

และทำ workshop ในช่วงบ่ายโดยให้ผู้เข้าเรียนได้ทำการเขียน Process Flow Diagram การผลิตของตนเอง

Day-3.jpg



วันที่ 4 : เป็นการเรียนในเรื่องหุ่นยนต์อุตสาหกรรม (Industrial Robotics)

ระบบการผลิตอัตโนมัติ (Automation System)
• องค์ประกอบของระบบการผลิตอัตโนมัติ
• ระบบเครื่องกล
• ระบบควบคุมการทำงานของระบบ
การเลือกระบบการผลิตอัตโนมัติให้เหมาะสมกับกระบวนการผลิต หุ่นยนต์อุตสาหกรรม (Industrial Robotics)
• องค์ประกอบของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
• ระบบเครื่องกล
• ชุดคำสั่งควบคุมการทำงานของหุ่นยนต์
• ระบบการควบคุมการผลิต
การเลือกใช้หุ่นยนต์อุตสาหกรรมให้เหมาะสมกับระบบการผลิต
• ประเภทของหุ่นยนต์อุตสาหกรรม
• Gantry Robot (หุ่นยนต์ที่เคลื่อนที่ในแกน X,Y,Z เหมาะกับงานที่ต้องการความละเอียดแม่นยำ เช่น งานเชื่อม งานประกอบชินส่วน หรือ เครื่อง CNC เป็นต้น)
• Polar Robot (หุ่นยนต์ที่มี 2 รอยต่อแบบแกนหมุนและ 1 รอยต่อแบบเคลื่อนที่ ทำงานเป็นพื้นที่วงกลม)
• Cylindrical Robot (หุ่นยนต์ที่มี 1 รอยต่อแบบแกนหมุนและ 2 รอยต่อแบบเคลื่อนที่ นิยมใช้ในงานจับยกหรือเคลื่อนย้ายสิ่งของ)
• SCARA Robot (หุ่นยนต์ที่เป็นแกนหมุน 2 แกนขนานกัน เหมาะกับงานหยิบจับชิ้นส่วน เหมาะกับงานเชื่อมต่อชิ้นส่วน เชื่อมต่อจุดของชิ้นงาน)

โดย ผศ.ดร.สุภชัย วงศ์บุณย์ยง
รองผู้อำนวยการฝ่ายวิชาการ
สถาบันวิทยาการหุ่นยนต์ภาคสนาม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

Day-4.jpg

 

 

วันที่ 5 : 

ในช่วงเช้าเป็นการบรรยายเรื่อง Smart Factory Automation / Smart Factory Platform ตามมาตรฐาน ISA95
• e-Factory ระบบผลิตอัจฉริยะ 3.0 โดย คุณพิสิษฐ์ พัทธพิชชพงศ์ Technical Trainer บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จำกัด

 

ในช่วงบ่ายเป็นการบรรยายเรื่อง
•การวางแผนการผลิต (Scheduling)
•การตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability)
•Data Analysis (การวิเคราะห์ข้อมูล)
และ Live Demonstration
โดย คุณสุทธิพงษ์ เสนาถี ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม บริษัท อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด

ทางบริษัทขอขอบคุณ บริษัท มิตซูบิชิ อีเล็คทริค แฟคทอรี่ ออโตเมชั่น (ประเทศไทย) จำกัด ในการเอื้อเฟื้อสถานที่ มา ณ ที่นี้ด้วยค่ะ

Day-5.jpg



วันที่ 6 : 

การบูรณาการระบบ (System Integration Solutions)  การ Integration ในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นระบบสายสัญญาณ หรือ ไร้สาย

การสื่อสารบนมือถือ 5G ไม่ว่าจะเป็น LoRa , NB-IoT , การควบคุมระบบระยะไกล , ระบบ Cloud และ Live Demonstration ในกระบวนการผลิต

โดย คุณอำพร สวัสดิยากร Engineering Expert บริษัท ทรูมูฟ

Day-6.jpg

 

 

วันที่ 7 :

การปรับปรุงผลิตภาพ  (Productivity Improvement)

  • การวิเคราะห์ผลิตภาพ (Productivity Analysis)
  • Lean Automation
  • การวัดประสิทธิภาพการผลิตด้วย KPI/OEE  (Key Performance Indicator ) ดัชนีชี้วัดผลงานหรือความสำเร็จของงาน /OEE – Overall Equipment Effectiveness การวัดประสิทธิผลโดยรวมของเครื่องจักร)
  • การวางแผนการซ่อมบำรุงเชิงป้องกัน (Preventive Maintenance)
  • การตรวจสอบและวินิจฉัยความผิดปกติ (Fault Detection and Diagnostic
  • Assignment : Problems Solving

โดยคุณสุทธิพงษ์ เสนาถี ผู้จัดการฝ่ายวิศวกรรม บริษัท อีดีเอ อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด

Day-7.jpg

 

 

วันที่ 8 :

  • Workshop : การประเมินความคุ้มค่าในการนำหุ่นยนต์มาใช้ในการผลิต และจุดคุ้มทุนของการลงทุน
  • การประเมินความคุ้มค่าในการบูรณาการระบบบริหารการผลิต                  
  • เหมาะสมกับกับกระบวนการผลิตหรือไม่?
  • กลยุทธ์สร้างการเจริญเติบโตของธุรกิจ (Business Growth Strategy)
  • การลดระยะเวลาการคืนทุน (ROI : Return On Investment  ค่าตอบแทนจากการลงทุน)
โดยทีมโค้ช
Day-8.jpg


วันที่ 9 :

เยี่ยมชมโรงงานภายในประเทศ 

ภาพบรรยากาศการเข้าเยี่ยมชมโรงงาน บริษัท อีซูซุมอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด (นิคมเกตุเวย์)

ในวันนี้ของผู้เข้าอบรมหลักสูตร iRobot3 ได้รับการต้อนรับจากคุณเชิงชาย คทาวุธยุทธชัย เจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท อีซูซุฯ

 

โดยผู้อบรมได้เข้าเยี่ยมชมการประกอบรถยนต์อีซูซุและในส่วนกระบวนการของการพ่นสีรถยนต์ โดยการใช้หุ่นยนต์, ระบบ automation และเทคโนโลยีต่างๆ ในการผลิต

 

ทางบริษัท ขอขอบคุณ บริษัท อีซูซุมอเตอร์ (ประเทศไทย) จำกัด มา ณ ที่นี้ด้วยค่ะ

Day-9.jpg



วันที่ 10 :

ภาพบรรยากาศปัจฉิมนิเทศ

ในช่วงเช้าเป็นการบรรยายพิเศษในหัวข้อ Indusral IOT and Data Analytics Plattiorm ที่ช่วยในการปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิต และประหยัดพลังงาน โดย สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และ การนำเทคโลยีมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิตเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด โดย บริษัท พอยท์ ไอที คอนชัลกิ่ง จำกัต

และช่วงบ่าย เป็นการนำเสนองานการนำ Automation & Robot ไปใช้ปรับปรุงการผลิตได้อย่างเต็มรูปแบบ ของนักเรียน เพื่อประยุกต์ใช้ Automation & Robot อย่างถูกต้อง และมีความเหมาะสมกับธุรกิจของตนเอง

Day-10.jpg